ประเพณีวันสารทเดือนสิบ

ประเพณีวันสารทเดือนสิบ"วันสารทเดือน

ประเพณีวันสารทเดือนสิบ
"วันสารทเดือนสิบ" เป็นการทำบุญกลางเดือนสิบเพื่อนำเครื่องอุปโภคและเครื่องบริโภคไปถวายพระ เป็นการอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษของตน
วัตถุประสงค์
เพื่ออุทิศส่วนบุญแก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ภาษาบาลีว่า "เปตชน" ภาษาชาวบ้านว่า "เปรต" ซึ่งหมายถึง ผู้ที่รับความทุกข์ทรมานจากวิบากแห่งบาปกรรมที่ทำไว้ในเมืองมนุษย์ เมื่อตายไปจึงเป็นเปรตตกนรก อดอยากยากแค้น คนข้างหลังจึงต้องทำบุญอุทิศให้ปีละครั้งเป็นการเฉพาะ
ความเชื่อ
พุทธศาสนิกชนเชื่อว่า บรรพบุรุษได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย และญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว หากทำความดีไว้เมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ จะได้ไปเปิดในสรวงสวรรค์ แต่หากทำความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทุกข์ทรมานในอเวจี ต้องอาศัยผลบุญที่ลูกหลานอุทิศกุศลไปให้ในแต่ละปีมายังชีพ ดังนั้นในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 10 คนบาปทั้งหลายที่เรียกว่าเปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์ เพื่อมาขอส่วนบุญจากลูกหลาน แล้วจะกลับไปนรกในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10
ขั้นตอนการจัดหมรับ
การจัดหมรับ (หรือ สำรับ) มักจะจัดขั้นตอนการจัดหมรับเฉพาะครอบครัว หรือจัดร่วมกันในหมู่ญาติ และจัดเป็นกลุ่ม ภาชนะที่ใช้จัดหมรับใช้กระบุงหรือเข่งสานด้วยตอกไม้ไผ่
การจัดหมรับ คือ การบรรจุและประดับด้วยสิ่งของ อาหารขนมเดือนสิบลงภายในภาชนะที่เตรียมไว้เป็นชั้นๆ ดังนี้
1. ชั้นล่างสุด จัดบรรจุสิ่งของประเภทอาหารแห้งลงไว้ก้นภาชนะ
2. ชั้นที่สอง บรรจุอาหารประเภท พืช ผัก ที่เก็บได้นาน ใส่ขึ้นมาจากชั้นล่างสุด
3. ชั้นที่สาม จัดบรรจุสิ่งของประเภทของใช้ในชีวิตประจำวัน
4. ชั้นที่สี่ ใช้บรรจุและประดับประดาด้วยขนมอันเป็นสัญลักษณ์ของสารทเดือนสิบเป็นหัวใจของหมรับ ได้แก่ ขนมพอง ขนมลา ขนมกง(ขนมไข่ปลา) ขนมบ้า ขนมดีซัม ขนมเหล่านี้มีความหมายในการทำบุญเดือนสิบซึ่งขาดเสียมิได้เพื่อให้บรรพบุรุษและผู้ล่วงลับไปแล้ว ได้นำไปใช้ประโยชน์
การยกหมรับ
วันแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านจะนำหมรับที่จัดเตรียมไว้ ไปทำบุญอุทิศส่วนกุศลที่วัดโดยเลือกวัดที่ใกล้บ้านหรือวัดที่บรรพบุรุษของตนนิยม และนำภัตตาหารไปถวายพระด้วย วันนี้เรียกว่า "วันยกหมรับ"
การฉลองหมรับและการบังสุกุล
วันแรม 15 ค่ำ ซึ่งเป็นวันสารทเรียกว่า "วันฉลองหมรับ" มีการทำบุญเลี้ยงพระและบังสุกุล การทำบุญวันนี้เป็นการส่งบรรพบุรุษและญาติพี่น้องให้กลับไปเมืองนรก นับเป็นสำคัญยิ่งวันหนึ่งซึ่งเชื่อกันว่าหากไม่ได้ทำพิธีกรรมในวันนี้บรรพบุรุษและญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้วจะไม่ได้รับส่วนบุญส่วนกุศลทำให้เกิดทุกขเวทนาด้วยความอดยาก ลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยู่ก็กลายเป็นคนอกตัญญูไป
การตั้งเปรตและการชิงเปรต
เสร็จจากการฉลองหมรับและถวายภัตตาหารแล้ว ก็นิยมนำขนมอีกส่วนหนึ่งไปวางไว้ที่ลานวัด โคนไม้ใหญ่ หรือกำแพงวัด เรียกว่า "ตั้งเปรต" เป็นการแผ่ส่วนกุศุลให้เป็นสาธารณทานแก่ผู้ที่ล่วงลับที่ไม่มีญาติหรือญาติไม่ได้มาร่วมทำบุญให้ เมื่อถึงเวลาที่กำหนด ชาวบ้านก็จะแย่งชิงขนมที่ตั้งเปรตไว้ เรียกว่า"ชิงเปรต" ถือว่าผู้ที่ได้กินขนมจะได้บุญ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (โปรตุเกส) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Prapheniwansarotdueansip"Penkanthambunklangdueansipphueanamkhrueangupphoklaekhrueangboriphokpaithawaiphra penkanuthitsuankusonkaebapburutkhongton wansarotdueansip" WatthuprasongPatachen phasachaobanwa phueauthitsuanbunkaebapburutphuluanglap phasabaliwa "" suengmaithueng "" phuthirapkhwamthukthonmanchakwibakhaengbapkamthithamwainaimueangomnut mueataipaichuengpenpratatakanarek otayakyakkhaen pret khonkhanglangchuengtongthambunuthithaipilakhrangpenkanchaphoKhwamchueaBapburutdaikae phuthotsatnikchonchueawa ta laeyatiphinongthiluanglappailaeo hakthamkhwamdiwaimueakrangyangmichiwitayu ya pu yai taehakthamkhwamchuachatoknonkoklaipenpret tongthukthonmannaiawechi tongasaiphonbunthiluklanuthitkusonpaihainaitaelapimayangchip dangnannaiwanraem chadaipaipoetnaisonwongsuanra 1 khonbapthanglaithiriakwapretchuengthukploituaklapmayanglokomnut phueamakhosuanbunchakluklan laeochaklappainonkanaiwanraem kham duean 10 15 10 duean khamKhantonkanchathomrapKanchathomrap (rue samrap) ruechatruamkannaimuyati laechatpenklum phatnathichaichathomrapchaikrabungruekhengsanduaitokmaiphai makchachatkhantonkanchathomrapchaphokhropkhruaKanchathomrap kanbanchulaepradapduaisingkhong aharoknomdueansiplongphainaiphatnathitriamwaipenchan dangni khue 1. chatbanchusingkhongpraphetahanhaenglongwaikonphatna chanlangsut2. banchuahanpraphet thikepdainan saikhuenmachakchanlangsut chanthisong phuet phak3. chatbanchusingkhongpraphetkhongchainaichiwitprachamwan chanthisamChanthisi chaibanchulaepradappradaduaikhanomanpensanlaksakhongsanthadueansippenhuachaikhongmarap daikae khonmopong 4 khonmakong khonmala (khonmakhaipla) khonmadisam khonmalaonimikwammainaikanthambundueansipsuengkhatsiamidaiphueahaibapburutlaephuluanglappailaeo dainampaichaiprayot khonmabaKanyokhomrapWanraem chaobanchanamhomrapthichattriamwai paithambunuthitsuankusonthiwatdoilueakwatthiklaibanruewatthibapburutkhongtonniyom laenamphattahanpaithawaiphraduai wanniriakwa 15 kham "wanyokhomrap"KanchononghomraplaekanbangsukunWanraem suengpenwansarotriakwa "wanchononghomrap" 15 kham kanthambunwannipenkansongbapburutlaeyatiphinonghaiklappaimueangonrok nappensamkhanyingwannuengsuengchueakanwahakmaidaithamphithikamnaiwannibapburutlaeyatiphinongthiluanglappailaeochamaidairapsuanbunsuankusonthamhaikoetthukokwetnaduaikhwamotyak ลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยู่ก็กลายเป็นคนอกตัญญูไป mikanthambunliangphralaebangsukunKantangpretlaekanchingpretก็นิยมนำขนมอีกส่วนหนึ่งไปวางไว้ที่ลานวัด khonmaiyai ruekamphaengwat riakwa saretchakkanchonongmaraplaethawaiphattahanlaeo tangpret penkanphaesuankusunhaipensatharonthankaephuthiluanglapthimaimiyatirueyatimaidaimaruamthambunhai mueathuengwelathikamnot "ชาวบ้านก็จะแย่งชิงขนมที่ตั้งเปรตไว้" riakwa "chingpret" thuewaphuthidaikinoknomchadaibun
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (โปรตุเกส) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาษา บาลี ว่า "เปต ชน" ภาษา ชาว บ้าน ว่า "เปรต" ซึ่ง หมาย ถึง ตาย ไป จึง เมื่อ เป็น เปรต ตก นรก อดอยาก ยากแค้น ได้แก่ ปู่ ย่า บรรพบุรุษ ตา ยาย และ ญาติ พี่น้อง ที่ ล่วงลับ ไป แล้ว จะ ได้ ไป เปิด ใน สรวง สวรรค์ ต้อง ทุกข์ ทรมาน ใน อเวจี ดังนั้น ใน วัน แรม 1 ค่ำ เดือน 10 ส่วน ขอ มา เพื่อ บุญ จาก ลูก แล้ว จะ หลาน กลับ ไป นรก ใน วัน เดือน แรม 15 ค่ำ 10 ขั้น ตอน การ จัด ห ม รับการ รับ จัด ห ม (หรือ สำรับ) จัด ร่วม กัน หรือ ใน หมู่ ญาติ และ จัด เป็น กลุ่ม คือ การ บรรจุ และ ประดับ ด้วย สิ่งของ ดังนี้1. ชั้น ล่าง สุด บรรจุ ที่ สอง ชั้น อาหาร ประเภท ที่ เก็บ พืช ผัก นาน ได้ ขึ้น มา จาก ใส่ ล่าง สุด ชั้น 3. ชั้น ที่ สาม ชั้น ที่ สี่ ได้แก่ ขนม พอง ขนม ลา ขนม ก ง (ขนม ไข่ปลา) ขนม บ้า ขนม ดี ซัม 15 ชาว บ้าน จะ ค่ำ นำ ห ม รับ ที่ จัด เตรียม ไว้ นำ ภัตตาหาร ไป และ ถวาย พระ ด้วย วัน นี้ เรียก ว่า 15 ซึ่ง เป็น วัน ค่ำ สาร ท เรียก ว่า "วัน ฉลอง ห ม รับ" มี การ ทำบุญ เลี้ยง พระ และ บังสุกุล โคน ไม้ ใหญ่ หรือ กำแพง วัด เรียก ว่า "ตั้ง เปรต" เมื่อ ถึง เวลา ที่ กำหนด เรียก ว่า "ชิงเปรต" ผู้ ที่ ถือว่า ได้ กิน ขนม จะ ได้ บุญ

















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (โปรตุเกส) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยู่ก็กลายเป็นคนอกตัญญูไป
การตั้งเปรตและการชิงเปรต
เพื่ออุทิศส่วนบุญแก่บรรพบุรุษผู้ล่วงลับ ภาษาบาลีว่า "เปตชน" ภาษาชาวบ้านว่า "เปรต" ซึ่งหมายถึง ผู้ที่รับความทุกข์ทรมานจากวิบากแห่งบาปกรรมที่ทำไว้ในเมืองมนุษย์ เมื่อตายไปจึงเป็นเปรตตกนรก อดอยากยากแค้นประเพณีวันสารทเดือนสิบ
"วันสารทเดือนสิบ" เป็นการทำบุญกลางเดือนสิบเพื่อนำเครื่องอุปโภคและเครื่องบริโภคไปถวายพระ เป็นการอุทิศส่วนกุศลแก่บรรพบุรุษของตน
วัตถุประสงค์
ความเชื่อ
1 ค่ำ ดังนั้นในวันแรม เดือน 10 คนบาปทั้งหลายที่เรียกว่าเปรตจึงถูกปล่อยตัวกลับมายังโลกมนุษย์ เพื่อมาขอส่วนบุญจากลูกหลาน แล้วจะกลับไปนรกในวันแรม 15 ค่ำ เดือน 10
ขั้นตอนการจัดหมรับ
การจัดหมรับ (หรือ สำรับ) มักจะจัดขั้นตอนการจัดหมรับเฉพาะครอบครัว หรือจัดร่วมกันในหมู่ญาติ และจัดเป็นกลุ่ม ภาชนะที่ใช้จัดหมรับใช้กระบุงหรือเข่งสานด้วยตอกไม้ไผ่
พุทธศาสนิกชนเชื่อว่า บรรพบุรุษได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย และญาติพี่น้องที่ล่วงลับไปแล้ว หากทำความดีไว้เมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ จะได้ไปเปิดในสรวงสวรรค์ แต่หากทำความชั่วจะตกนรกกลายเป็นเปรต ต้องทุกข์ทรมานในอเวจีการจัดหมรับ คือ การบรรจุและประดับด้วยสิ่งของ อาหารขนมเดือนสิบลงภายในภาชนะที่เตรียมไว้เป็นชั้นๆ ดังนี้
1. ชั้นล่างสุด จัดบรรจุสิ่งของประเภทอาหารแห้งลงไว้ก้นภาชนะ
2.ชั้นที่สอง บรรจุอาหารประเภท พืช ผัก ที่เก็บได้นาน ใส่ขึ้นมาจากชั้นล่างสุด
3. ชั้นที่สาม จัดบรรจุสิ่งของประเภทของใช้ในชีวิตประจำวัน
4.ชั้นที่สี่ ใช้บรรจุและประดับประดาด้วยขนมอันเป็นสัญลักษณ์ของสารทเดือนสิบเป็นหัวใจของหมรับ ได้แก่ ขนมพอง ขนมลา ขนมกง(ขนมไข่ปลา) ขนมบ้า ขนมดีซัมการยกหมรับ
วันแรม 15 ค่ำ ชาวบ้านจะนำหมรับที่จัดเตรียมไว้ ไปทำบุญอุทิศส่วนกุศลที่วัดโดยเลือกวัดที่ใกล้บ้านหรือวัดที่บรรพบุรุษของตนนิยม และนำภัตตาหารไปถวายพระด้วย วันนี้เรียกว่า "วันยกหมรับ.
ได้นำไปใช้ประโยชน์
การฉลองหมรับและการบังสุกุล
ลูกหลานที่ยังมีชีวิตอยู่ก็กลายเป็นคนอกตัญญูไป
การตั้งเปรตและการชิงเปรต
เสร็จจากการฉลองหมรับและถวายภัตตาหารแล้ว ก็นิยมนำขนมอีกส่วนหนึ่งไปวางไว้ที่ลานวัด โคนไม้ใหญ่ หรือกำแพงวัด เรียกว่า "ตั้งเปรต"15 ค่ำ วันแรม ซึ่งเป็นวันสารทเรียกว่า "วันฉลองหมรับ" มีการทำบุญเลี้ยงพระและบังสุกุล การทำบุญวันนี้เป็นการส่งบรรพบุรุษและญาติพี่น้องให้กลับไปเมืองนรกเมื่อถึงเวลาที่กำหนด ชาวบ้านก็จะแย่งชิงขนมที่ตั้งเปรตไว้ เรียกว่า"ชิงเปรต" ถือว่าผู้ที่ได้กินขนมจะได้บุญ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: